SCIENCE TO DAY

วันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555

เตรียมรักษาใจรับภัยพิบัติ

วันนี้วันที่ 24 มกราคม 2555 เวลา 15.57 นาที ณ หอสมุด มช

วันนี้ข้าพเจ้า จะได้นำเรื่องราว ดีๆในการเตรียมใจ รับภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น ถึงแม้มันไม่เกิดก็ทำให้เราได้ชื่อว่าไม่ประมาทในชีวิต ลองอ่านดุกันครับ p03

p04

p05 

p06

p07

ที่มา จากเว็บไซแห่งหนึ่ง จำไม่ได้แล้วครับ

โดยพระอาจารย์ไพศาล วิสาโร

วันศุกร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2555

เรื่องราว To be in law

วันที่ 20 มกราคม 2555  เวลา 03.10

 

กว่าจะมาถึงวันนี้ ผ่านมาสามปี กับการ เรียนกฎหมาย ในรั่ว มช ถือว่าเป็นการสร้างความรู้สึกเล็ก สำหรับการได้เข้ามาเรียนในสถานที่แห่งนี้ เป็น ครั้งที่สอง หลังจาก เรียนวิทยา แล้ววิ่วมาเรียนกฎหมาย  การเรียนกำหมาย สำหรับเราแล้ว มันเป็นอะไรที่ ไม่ได้ไม่ชอบ หรือชอย เพราะการที่เราได้เข้ามาเรียนกฎหมายนี้ เพราะเหตุคงเป็นมาแต่อดีตชาติที่ทำมาแล้วนั้น จึงเป้นผลในปัจจุบัน ที่ได้มาเรียนกฎหมาย ข้าพเจ้าก็ พอเรียนไหว เรียนได้ ไม่มีปัยหาอะไร

ปัญหามีอยู่ว่าข้าพเจ้า เป้นคนที่ขี้เกียจอ่านหนังสือ จะไปอ่านใกล้ๆ สอบ แต่พอ มีคอม ก้ไม่ค่อยได้อ่านจะนั้งเล่นแต่ คอมทั้งวัน จะ น่าตกใจ

การเรียน ปีสามในคณะนิติศาสตร์ ในตอนนี้ ข้าพเจ้ารุ้สึกกังวลต่อการเรียน ที่เรียนบางวิชาไม่ค่อยจะเข้าใจเท่าไร ยิ่งกำหมายที่ดิน นั่งเรียน แต่ก้ไม่ได้ทำความเข้าใจไปด้วยและ หลังเลิกเรียนก็ไม่ได้กลับมาทบทวน ข้าพเจ้าก็เลย ไม่สามารถเข้าใจในเนื้อหาได้ ข้าพเจ้าพยายามที่จะอ่าน เนื้อหามาก่อน แต่เนื้อหาหมันก็เยอะเกิน จนไม่อยากจะอ่าน !! ??

ช่วงนี้ก็เหลือเวลาอีกไม่กี่วันก้จะเข้าสุ่การสอบ ปลายภาค ประจำปีสามแล้ว ดังนั้นเราต้อง เริ่มอ่านหนังสือได้แล้ว มิฉะนั้นอ่านไม่ทันแน่ๆ เพราะเนื้อหาเยอะมากๆๆๆๆๆ

ปัญหา เรื่องเพือ่นปัญหาการ เรียน ปัญหาการเงินก็เข้ามา รุมเร้าเกินไป

ดังนั้นต้องสวดมน นั่งกรรมฐาน ^^

วันนี้ เพิ่งจะเริ่มเขียน ไดอารีครั่งแลก ก้รู้สึกตื่นเต้นนิดหน่อย อิอิ ตอนนี้ก้ตีสามแล้ หลับดึกมาหลายวันแล้วนะ 555 ทำไงดี ได้เวลาไปนอนแล้วไปนอนก่อนนะ ฝันดีจ้า

 

ฮ่องเต้ตั้ม แอบชอบน้ำว้า และแพรแพทย์

P190910_17.48

วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2552

Frantic Activity Revealed In Dusty Stellar Factories


ScienceDaily (Jan. 20, 2009) —


Astronomers from the Instituto de Astrofísica de Canarias (Spain) used NACO, a sharp-eyed adaptive optics instrument on ESO's Very Large Telescope (VLT), to study the fine detail in NGC 253, one of the brightest and dustiest spiral galaxies in the sky.



Adaptive Optics (AO) corrects for the blurring effect introduced by the Earth's atmosphere. This turbulence causes the stars to twinkle in a way that delights poets, but frustrates astronomers, since it smears out the images. With AO in action the telescope can produce images that are as sharp as is theoretically possible, as if the telescope were in space.

NACO revealed features in the galaxy that were only 11 light-years across. "Our observations provide us with so much spatially resolved detail that we can, for the first time, compare them with the finest radio maps for this galaxy — maps that have existed for more than a decade," says Juan Antonio Fernández-Ontiveros, the lead author of the paper reporting the results [1].

Astronomers identified 37 distinct bright regions, a threefold increase on previous results, packed into a tiny region at the core of the galaxy, comprising just one percent of the galaxy's total size. The astronomers combined their NACO images with data from another VLT instrument, VISIR, as well as with images from the NASA/ESA Hubble Space Telescope and radio observations made by the Very Large Array and the Very Large Baseline Interferometer. Combining these observations, taken in different wavelength regimes, provided a clue to the nature of these regions.

"We now think that these are probably very active nurseries that contain many stars bursting from their dusty cocoons," says Jose Antonio Acosta-Pulido, a member of the team. NGC 253 is known as a starburst galaxy, after its very intense star formation activity. Each bright region could contain as many as one hundred thousand young, massive stars.

This comprehensive set of data also leads astronomers to conclude that the centre of NGC 253 hosts a scaled-up version of Sagittarius A, the bright radio source that lies at the core of the Milky Way and which we know harbours a massive black hole (see ESO 46/08). "We have thus discovered what could be a twin of our Galaxy's Centre," says co-author Almudena Prieto.

[1] Because observations in the radio wavelength domain are not affected by the turbulence of the atmosphere and because radio waves have much longer wavelengths than visible light, it is relatively easy to obtain very high spatial resolution at radio wavelengths by combining observations from well-separated radio telescopes (using interferometry). This is why, until recently, radio maps of galaxies show much more detail than their equivalents in the near-infrared or the optical.

วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

Gravitational Lensing: Astronomers Harness Einstein’s Telescope

Science (Feb. 24, 2009) — Scientists are harnessing the cosmos as a scientific “instrument” in their quest to determine the makeup of the universe.



The University of Chicago’s Evalyn Gates calls the instrument “Einstein’s telescope.” The instrument is actually the phenomenon of gravitational lensing, which acts as a sort of natural telescope.*

Although based on Albert Einstein’s general theory of relativity, the effect is easily demonstrated. Look at a light through the bottom of a wine glass, Gates recommends, and see the resulting light distortion.

“Einstein’s telescope is using the universe itself as a lens through which we can seek out galaxies that would otherwise be too faint to be seen,” says Gates, Assistant Director of the University’s Kavli Institute for Cosmological Physics.

Einstein’s first inklings

Long ago Einstein recognized the potential existence of gravitational lensing, a consequence of his theory of general relativity. According to general relativity, celestial objects create dimples in space-time that bend the light traveling from behind.

Einstein realized that the gravitational influence of a foreground star could theoretically bend the light of another star sitting almost directly far beyond it, producing two images of the background star.

“Gravitational lensing magnifies things as well as making multiple images and distorting the shape of images, so you can actually use it as a magnifying glass,” Gates explains.

But, assuming that the effect would be too weak to detect, Einstein immediately dismissed its significance. “What he didn’t anticipate, among other things, were the incredible leaps forward in telescope technology,” Gates says.

Seeing the invisible

Astronomers now use gravitational lensing to look for dark matter and the imprint of dark energy, two of the greatest modern scientific mysteries.

Dark energy, which acts in opposition to gravity, is the dominant force in the universe.

“We can’t see dark energy directly by any means, but we’re looking for how it has sculpted the matter distribution of the universe over the past few billion years, since it’s been the dominant factor, and also how it has affected the rate at which the Universe is expanding” Gates says.

And gravitational lensing is essentially the only method astronomers have for tracing out the web of dark matter that pervades the Universe, and determining how dark energy has impacted the evolution of this web. “It’s really hot scientifically,” she says.

Like dark energy, dark matter is also invisible. It accounts for most of the matter in the universe, but exactly what it is remains unknown. Scientists only know that dark matter differs significantly from normal matter (which is essentially composed of protons and neutrons) that dominates everyday life.

“What we’re made of is just about five percent of everything that’s in the universe,” Gates says.

In 1990s scientists wondered if a significant quantity of dark matter in the halo consisted of MACHOs (Massive Astrophysical Compact Halo Objects) – faint objects such as dim stars, Jupiter-sized planets or stellar-mass black holes that are all composed of normal matter but hard to see.

Gates and her collaborators were among the researchers who used gravitational lensing to search for MACHOs within the halo of the Milky Way galaxy.

“We have seen MACHOs – but what we found is that they make up at most a small fraction of the galactic halo,” Gates said.

A look into galaxies past

Scientists also use galaxy clusters as gravitational lenses to probe 13 billion years back into the history of the universe. “They’re seeing some of the very first galaxies,” she says.

Gravitational lensing offers astrophysicists a tool comparable to magnetic resonance imaging and computing tomography, which have provided health professionals with unprecedented new views of the human body.

“Gravitational lensing is going to allow us to image the universe in ways that wouldn’t have been possible even 50 years ago,” she says.

During the 20th century, quantum mechanics and general relativity radically altered scientists’ view of the universe, Gates says. Investigations of dark matter and dark energy may do likewise.

“It may lead us to another revolution in our understanding of the most fundamental aspects of the universe, time, matter, and energy.”

*Gates’s new book, Einstein’s Telescope: The Hunt for Dark Matter and Dark Energy in the Universe, explains how it works

Ice Declining Faster Than Expected In Both Arctic And Antarctic Glaciers

Science (Feb. 26, 2009)

Ice Declining Faster Than Expected In Both Arctic And Antarctic Glaciers

— Multidisciplinary research from the International Polar Year (IPY) 2007-2008 provides new evidence of the widespread effects of global warming in the polar regions. Snow and ice are declining in both polar regions, affecting human livelihoods as well as local plant and animal life in the Arctic, as well as global ocean and atmospheric circulation and sea level.


These are but a few findings reported in “State of Polar Research”, released February 25 by the World Meteorological Organization (WMO) and the International Council for Science (ICSU). In addition to lending insight into climate change, IPY has aided our understanding of pollutant transport, species’ evolution, and storm formation, among many other areas.

The wide-ranging IPY findings result from more than 160 endorsed science projects assembled from researchers in more than 60 countries. Launched in March 2007, the IPY covers a two-year period to March 2009 to allow for observations during the alternate seasons in both polar regions. A joint project of WMO and ICSU, IPY spearheaded efforts to better monitor and understand the Arctic and Antarctic regions, with international funding support of about US$ 1.2 billion over the two-year period.

IPY has provided a critical boost to polar research during a time in which the global environment is changing faster than ever in human history. It now appears clear that the Greenland and Antarctic ice sheets are losing mass contributing to sea level rise. Warming in the Antarctic is much more widespread than it was thought prior to the IPY, and it now appears that the rate of ice loss from Greenland is increasing.

Researchers also found that in the Arctic, during the summers of 2007 and 2008, the minimum extent of year-round sea ice decreased to its lowest level since satellite records began 30 years ago. IPY expeditions recorded an unprecedented rate of sea-ice drift in the Arctic as well. Due to global warming, the types and extent of vegetation in the Arctic shifted, affecting grazing animals and hunting.

Other evidence for global warming comes from IPY research vessels that have confirmed above-global-average warming in the Southern Ocean. A freshening of the bottom water near Antarctica is consistent with increased ice melt from Antarctica and could affect ocean circulation. Global warming is thus affecting Antarctica in ways not previously identified.

IPY research has also identified large pools of carbon stored as methane in permafrost. Thawing permafrost threatens to destabilize the stored methane -a greenhouse gas- and send it into the atmosphere. Indeed, IPY researchers along the Siberian coast observed substantial emissions of methane from ocean sediments.

In the area of biodiversity, surveys of the Southern Ocean have uncovered a remarkably rich, colourful and complex range of life. Some species appear to be migrating poleward in response to global warming. Other IPY studies reveal interesting evolutionary trends such as many present-day deep-sea octopuses having originated from common ancestor species that still survive in the Southern Ocean.

IPY has also given atmospheric research new insight. Researchers have discovered that North Atlantic storms are major sources of heat and moisture for the polar regions. Understanding these mechanisms will improve forecasts of the path and intensity of storms. Studies of the ozone hole have benefited from IPY research as well, with new connections identified between the ozone concentrations above Antarctica and wind and storm conditions over the Southern Ocean. This information will improve predictions of climate and ozone depletion.

Many Arctic residents, including indigenous communities, participated in IPY’s projects. Over 30 of these projects addressed Arctic social and human science issues, including food security, pollution, and other health issues, and will bring new understanding to addressing these pressing challenges. “IPY has been the catalyst for the development and strengthening of community monitoring networks across the North” said David Carlson, Director of the IPY International Programme Office. “These networks stimulate the information flow among communities and back and forth from science to communities.”

The increased threats posed by climate change make polar research a special priority. The “State of Polar Research” document not only describes some of the striking discoveries during IPY, it also recommends priorities for future action to ensure that society is best informed about ongoing polar change and its likely future evolution and global impacts. A major IPY science conference will take place in Oslo in June 2010.

วันจันทร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

แอนติบอดี้ใหม่มีผลในการต้านไวรัสหวัดหลายสายพันธุ์

นักวิจัยสหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาแอนติบอดี้จากในห้องทดลองที่มีผลในการต่อต้านเชื้อไวรัสหวัดหลายสายพันธุ์ และสามารถผลิตเป็นจำนวนมากได้อย่างรวดเร็ว รายงานนี้ตีพิมพ์ลงวารสาร Nature Structural & Molecular Biology โดยสถาบันมะเร็งดาน่า ฟาเบอร์และสถาบันวิจัยการแพทย์เบิร์นแอม

นักวิจัยได้พัฒนาแอนติบอดี้ที่สามารถทำงานในการต่อต้านไวรัสหวัดสายพันธุ์ A ได้หลายชนิด แต่ได้ทำการทดสอบเฉพาะในหนู และพบว่ามีผลต่อไข้หวัดตามฤดูกาล อย่างเช่นเชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1 นั้นแพร่กระจายทั้วทั้งเอเซียและไวรัสหวัดสายพันธุ์ที่ทำให้เกิดการระบาดของไข้หวัดไปทั่วโลกเมื่อปี 1918 ซึ่งคร่าชีวิตคนไปกว่า 50 ล้านคน

แอนติบอดี้นี้อาจเป็นกระสุนมหัศจรรย์ที่สามารถต่อต้านความกลัวของการระบาดไข้หวัดสายพันธุ์อื่นทั่วไปได้ เพราะแอนติบอดี้แบบโมโนโคลนนัล นั้นมีราคาแพงในการผลิตมากกว่า วัคซีนนี้ถ้าผลจะสามารถหยุดช่องว่างจนกว่าวัคซีนที่ถูกกว่าจะสามารถพัฒนาได้

ที่มา - upi.com

เอกสารอ้างอิง - nature.com

วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

ปลาว่ายน้ำยังไง? ข้อสงสัยสู่หุ่นยนต์ใช้พลังงานต่ำ

สำหรับบางคน อาจจสนใจแค่ปลาชนิดไหนอร่อยที่สุด ทำกับข้าวอะไรน่ากินที่สุด แต่สำหรับนักประดิษฐ์ที่ช่างสังเกตแล้ว วิธีว่ายน้ำของปลาคือการเคลื่อนที่อันน่าสนใจ และนำมาประยุกต์เพื่อสร้างเครื่องยนต์ประหยัดพลังงานได้

ผศ.ดร.สโรช ไทรเมฆ อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ผู้ศึกษาหุ่นยนต์ปลามาเป็นเวลา 6 ปี กล่าวกับ "ทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTVผู้จัดการออนไลน์" ภายในค่ายหุ่นยนต์ปลา ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันทีื่ 17-18 ก.พ.52 ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ว่า การศึกษาเรื่องหุ่นยนต์ปลานั้น เริ่มต้นจากการพิสูจน์การเคลื่อนที่ของปลา เมื่อปี 2473 โดย เซอร์เจมส์ เกรย์ (Sir James Gray) นักวิทยาศาสตร์อังกฤษที่ทดลองนำซากโลมา่หย่อนลงในถังให้ตกจากที่สูง โดยในถังบรรจุน้ำไว้

ซากโลมาจะเคลื่อนที่เร็วขึ้นเรื่อยๆ จนถึงจุดหนึ่งที่เกิดแรงต้านจากน้ำทำให้การเคลื่อนที่มีความเร็วคงที่ ซึ่งเมื่อคำนวณย้อนกลับหากำลังขับเคลื่อนของโลมาพบว่า กล้ามเนื้อของโลมาต้องออกแรงมากกว่าคนถึง 7 เท่า ซึ่งเป็นไปไม่ได้ เพราะลักษณะกล้ามเนื้อของโลมาและคนไม่ได้แตกต่างกันมาก ดังนั้นจึงน่าจะเป็นเพราะลักษณะการเคลื่อนที่ของโลมาที่ช่วยลดแรงต้านจากน้ำได้

"อีกกรณีคือการศึกษาการว่ายน้ำของปลากระโทงแทง ซึ่งว่ายน้ำได้ด้วยความเร็วสูง โดยเมื่อตกใจสามารถว่ายได้เร็วถึง 140 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คำนวณเป็นแรงม้าได้ถึง 110 แรงม้า แต่ก็เป็นไปไม่ได้ เพราะคนเราเองมีกำลังไม่ถึงครึ่งแรงม้าด้วยซ้ำ และปลาก็มีขนาดไม่ไหญ่ไปกว่าคนมากนัก จึงเป็นเหตุผลให้เราสนใจการเคลื่อนที่ของปลาและหุ่นยนต์ปลา" ผศ.ดร.สโรชกล่าว

สำหรับเมืองไทยอาจมีคนอื่่นๆ ที่ศึกษาเรื่องหุ่นยนต์ปลาเช่นกัน แต่สำหรับเขาศึกษาเรื่องนี้มาประมาณ 6 ปี และในระดับปริญญาเอกเขาได้ศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของหางปลา ซึ่งเป็นการเคลื่อนที่แบบกลับไป-กลับมา จนกระทั่งได้ทำงานทางด้านเครื่องกล ก็ได้นำเรื่องนี้มาศึกษาต่อ ทั้งนี้ หุ่นยนต์ปลามีศักยภาพสูง ที่จะนำไปพัฒนาเครื่องกลหรือยานพาหนะที่ลดแรงต้านทานในการเคลื่อนที่ได้ แต่ปัจจุบันยังอยู่ระหว่างหาองค์ความรู้

ต่างประเทศก็ศึกษาเรื่องหุ่นยนต์ปลาเป็นจำนวนมาก โดยในปี 2538 สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเสตต์ หรือเอ็มไอที (Massachusetts Institute of Technology: MIT) สหรัฐฯ ได้ประดิษฐ์หุ่นยนต์ปลาขึ้นเป็นครั้งแรก ส่วนประเทศอื่นๆ อาทิ อังกฤษ จีน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น อิหร่าน ฝรั่งเศส และอีกหลายประเทศในยุโรปก็ได้ศึกษาเรื่องหุ่นยนต์ปลาเช่นกัน

"การศึกษาการเคลื่อนที่ของปลานั้น มีความซับซ้อนมาก การเคลื่อนที่ใช้พลังงานต่ำและสามารถนำพลังงานที่สูญเสียกลับมาใช้ได้ใหม่ ถ้าเรารู้ก็จะสามารถรู้วิธีพัฒนาการนำพลังงานที่สูญเสียไปกลับมาใช้ได้ใหม่ เช่น พลังงานจากคลื่น หรือพลังงานน้ำ เป็นต้น และสุดท้ายต้องได้รายละเอียดที่อธิบายด้วยสมการทางคณิตศาสตร์ได้" ผศ.ดร.สโรชกล่าว

ส่วนกิจกรรมในค่ายหุ่นยนต์ปลานี้ เขามุ่งหวังว่านักเรียนจะได้เรียนรู้การทำงานทางด้านวิศวกรรม ได้ลองผิด-ลองถูก และได้ประเมินตัวเองว่าชอบงานทางด้านวิศวกรรมหรือไม่ เพราะในฐานะที่เป็นอาจารย์เขาคาดหวังให้นักศึกษาที่จะเข้ามาเรียนนั้นรักที่จะทำงานทางด้านวิศวกรรม ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนมีความสุขกว่า

ภายในค่ายมีนักเรียนชั้น ม.ปลายกว่า 30 คนจากทั่วประเทศเข้าร่วม โดยนักเรียนจะได้รับฟังบรรยายเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีจากการเลียนแบบธรรมชาติของปลา จาก ผศ.ดร.สโรช

อีกทั้งยังได้ลงมือประกอบหุ่นยนต์ปลาโดยแบ่งเป็นกลุ่มละ 3 คน พร้อมทีมพี่เลี้ยงจากคณะวิสวกรรมศาสตร์ มจธ. คอยให้คำแนะนำ จากนั้นมีการแข่งขันหุ่นยนต์ปลา ทั้งด้านความเร็ว การเคลื่อนที่ได้แม่นยำ ความสวยงาม เทคนิคยอดเยี่ยมและความคิดสร้างสรรค์

ในการแข่งขันทั้ง 5 ด้าน ผศ.ดร.สโรชกล่าวกับทีมข่าววิทยาศาสตร์ว่า การออกแบบให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่แม่นยำตรงเป้าหมายนั้นทำได้ยากที่สุด เพราะลักษณะการเคลื่อนที่ของปลาจะเคลื่อนที่ซ้าย-ขวา สลับไป-มา จึงต้องออกแบบให้มอเตอร์ทั้ง 2 ด้านออกแรงได้เท่ากัน

ทางด้านผู้่ชนะการแข่งขันประเภทการเคลื่อนที่แม่นยำ ได้แก่ นายพงศ์ทัศน์ บัวเลิศ นักเรียนชั้น ม.5 โรงเรียนวิเชียรมาตุ จ.ตรัง น.ส.พิมพ์พิสุทธิ์ วรขจิต นักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียนสิกขาลัย จ.นนทบุรี และนายสุดท้าย อ่อนน่วม นักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา

ทั้งสามเผยกับทีมข่าววิทยาศาสตร์ว่า คาดว่าการประดิษฐ์หุ่นยนต์ปลาจะยากกว่านี้ แต่ปรากฏว่าง่ายกว่าที่คิด โดยพวกเขาเพียงแค่นำชิ้นส่วนของหุ่นยนต์มาประกอบ ซึ่งพี่เลี้ยงได้ออกแบบกำลังมอเตอร์ที่เหมาะสม และเตรียมวัสดุกันน้ำให้

“สิ่งที่เราต้องทำคือ ออกแบบรูปร่างของหุ่นยนต์ให้เหมาะสมกับการเคลื่อนที่ในน้ำ ตอนแรกกังวลว่าจะนำหุ่นยนต์ลงน้ำได้อย่างไร แต่มีวัสดุกันน้ำให้ และเราก็ได้ลองผิด-ลองถูก ทดลองนำหุ่นยนต์ลงน้ำดูการเคลื่อนที่ว่าสมดุลหรือยัง ก็มีการปรับเปลี่ยนอยู่หลายรอบ ทั้งนี้เราได้ออกแบบหางให้มีสามแฉก ซึ่งช่วยให้โคนหางมั่นคงและเคลื่อนที่ได้ตรง แต่ตอนแรกเราตั้งใจเอาแชมป์ด้านความเร็ว แต่ก็ได้แชมป์ความแม่นยำแทน" ทั้ง 3 ธิบายการทำงานให้เราฟัง

นักเรียนทั้ง 3 คนเข้าร่วมค่ายนี้ ด้วยความสนใจหุ่นยนต์ปลาที่พวกเขามองว่าเป็นเรื่องแปลกใหม่ โดยในส่วนของ น.ส.พิมพ์พิสุทธิ์นั้น มีความสนใจทางด้านวิศวกรรมอยู่แล้ว และได้ศึกษาเรื่องการทำเครื่องบินเล็กมาก่อนด้วย จึงสนใจว่าหุ่นยนต์ที่นำลงน้ำได้นั้นเป็นอย่างไร

ส่วนพงศ์ทัศน์เห็นว่าเป็นเรื่องแปลกใหม่และสนใจเรื่องกลไก ขณะที่นายสุดท้ายมีความสนใจในเรื่องซอฟต์แวร์ และคาดว่าจะได้ผนวกความรู้เรื่องซอฟต์แวร์เข้ากับการประดิษฐ์หุ่นยนต์ แต่ปรากฏว่าในค่ายไม่มีกิจกรรมในเรื่องซอฟต์แวร์

สำหรับค่ายหุ่นยนต์ปลานี้จะจัดขึ้นอีกครั้งในเดือน มิ.ย.52 นี้ โดยคัดเลือกนักเรียนกลุ่มใหม่เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งค่ายดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม "เปิดโลกมหัศจรรย์แห่งวิวัฒนาการ" ของศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสังคม สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)